Saturday, October 4, 2014

Ethiopian Coffee Ceremony กาแฟเอธิโอเปีย


Ethiopian coffee ceremony

     The coffee shop is the widest cultural heritage of the local operation. Each of which will feature a variety of traditional form, which is retained in the coffee enthusiasts.

     Someone have the opportunity to visit local traditional Ethiopian origin coffee. When it comes to that, then do not miss the chance to sample Ethiopian Coffee, including the coffee shop, the process of movement from the city. Steps are cultural traditions inherited from their ancestors here.

     Ethiopian coffee ceremony culture is one which can be prepared within three drinks daily in the morning. Noon and evening Including when to visit the festival, which is considered to be a coffee shop, the parties relating to visitors and as part of a reception or a party that is indispensable.

     Ethiopian ceremony the traditional Ethiopian coffee culture coffee cooking at a young age to be a woman and to wear white jewelry dig out the symbols used. The coffee shop will be given to women from the mother. Ethiopian coffee making is women only.

     Earliest of ceremony Ethiopian coffee. At the ceremony, a large woman stalks of grass and flowers will be laid on the floor in front of a coffee shop, the size of the device would be placed on the coffee shop counter. Then the woman put green coffee beans into a flat pan with a long handle and wash with warm flat pan on the stove to bring it to the scrap everything from coffee beans. Then the soft roasted over an open fire. Move to a flat pan to flip the beans evenly. When coffee beans are dark brown or honey-roasted until it stops or will black out the oil oozes out. Hold the pan circled the area where visitors will have the aroma of coffee roasted meats.

      The girl put coffee beans into a wooden mortar called Mukecha  thoroughly with a pestle (Zenezena) until the flour and pour in the victim a black clay. Also known as the  Jebena fill the jug to boil on the stove until the water boils, remove the smell of coffee will imbue again.

                                                          Ebone Wooden Mortar (Mukecha)

       Ethiopian coffee ceremony after the make process to bring the coffee pot to pour a small cup and a cup of Chinese tea set on a tray. The first line was called Adol Buna or Avel the oldest. This will fill the sugar adjacent or not satisfied. Then, drink, and praise the girl. Then gradually sorted out. Served subsequently referred to as a shift Huletegna (Tona or Kale) three times the price of Baraka or Bereka.



       Ethiopian coffee ceremony are important because they have served coffee and water purification flow out continuously until the full cup of coffee. Coffee grounds, crushed yet remain in the pitcher must remain the same in the wet soil, which serves young women who are using their expertise to pour coffee for visitors.

                                                        Adol Buna Ethiopian coffee

       How to make a traditional Ethiopian coffee culture since the flash washed roasted, boiled, served for him. Ethiopia's coffee flavor and aroma. For those who have seen the process of cooking their coffee from Africa. Hard to make you forget the memories of Ethiopia.



   กาแฟเอธิโอเปีย

     การปรุงกาแฟถือเป็นวัฒนธรรมอย่างหนี่งที่แต่ละท้องถิ่นดำเนินการสืบทอดกันมา ซึ่งแต่ละที่จะมีลักษณะที่หลากหลายแตกต่างกันตามประเพณีดั้งเดิมซึ่งเปนรูปแบบคงไว้ซึ่งผู้ที่ชื่นชอบในการดื่มกาแฟ
     ท่านที่มีโอกาสมาเยือนถิ่นต้นกำเนิดกาแฟดั้งเดิมอยู่ที่เอธิโอเปีย เมื่อมาถึงที่แล้วคงไม่พลาดโอกาสทีจะลิ้มลองกาแฟ กาแฟเอธิโอเปีย (Ethiopian Coffee) รวมทั้งดูขั้นตอนการขบวนการปรุงกาแฟจากชาวเมืองนี้ ตามขั้นตอนแบบประเพณีดั้งเดิมที่เป็นวัฒนธรรมสืบทอดกันมาตั้งแต่บรรพบุรุษของที่นี่

     การปรุงกาแฟเอธิโอเปียเป็นวัฒนธรรมอย่างหนึ่งซึ่งนอกจากจะปรุงดื่มในชีวิตประจำวันภายในบ้านสามเวลาในตอนเช้า เที่ยงวันและตอนเย็น รวมทั้งเมื่อมีผู้มาเยี่ยมที่บ้าน งานประเพณี ซึ่งการปรุงกาแฟถือว่าเป็นการให้เกีตรติแก่ผู้มาเยือนและเป็นส่วนหนึ่งของการต้อนรับหรือการสังสรรค์ที่จะขาดไม่ได้

     การปรุงกาแฟเอธิโอเปียตามประเพณีวัฒนธรรมการปรุงกาแฟจะต้องเป็นผู้หญิงสาวที่อายุอ่อนที่สุดและจะสวมขุดสีขาวพร้อมเครื่องประดับเด่นเป็นสัญลักณ์ การปรุงกาแฟจะได้รับการถ่ายทอดให้ผู้หญิงจากผู้เป็นแม่ การปรุงกาแฟเอธิโอเปียจึงเป็นผู้หญิงเท่านั้น

     ขั้นตอนแรกสุดของการปรุงกาแฟเอธิโอเปีย ในพิธีที่เป็นงานใหญ่หญิงสาวจะนำก้านหญ้าและดอกไม้หอมปูวางบนพื้นไว้บริเวณหน้าโต๊ขนาดย่อมที่จะปรุงกาแฟที่มีอุปกรณ์การปรุงกาแฟวางไว้บนโต๊ จากนั้นหญิงสาวจะนำเมล็ดกาแฟสีเขียวใส่กระทะแบนด้ามยาวมาล้างโดยอุ่นบนเตาไฟที่ก่อไว้แล้วเพื่อให้เศษสิ่งต่างๆออกจากเมล็ดกาแฟ แล้วทำการเริ่มคั่วบนเตาไฟอ่อน ขยับกระทะแบนไปมาสม่ำเสมอเพื่อพลิกเมล็ดกาแฟ เมื่อเมล็ดกาแฟมีสีออกน้ำตาลเข้มหรือสีน้ำผึ้งจะหยุดหรือจะคั่วต่อจนออกสีดำให้น้ำมันเยิ้มออกมา ยกกระทะถือเดินวนรอบบริเวณที่ผู้มาเยี่ยมซึ่งจะได้กลิ่นหอมของกาแฟสดที่คั่วสุกแล้ว

     ขั้นตอนต่อมาหญิงสาวจะนำกาแฟสดที่คั่วมาใส่ไม้ครกพื้นเมืองที่เรียกว่า มูเคฉา(Mukecha) ตำให้ละเอียดด้วยสาก(Zenezena) จนเป็นแป้งแล้วนำเทใส่ในเหยืกดินเหนียวสีดำ หรือที่เรียกว่า เจบีนา (Jebena) เติมน้ำลงในเหยือกต้มบนเตาไฟจนน้ำเดือดกลิ่นหอมของกาแฟจะตลบอบอวนอีกครั้ง
                             

      การการปรุงกาแฟเอธฺิโอเปียหลังขั้นตอนการต้มจะนำกาแฟมารินใส่ถ้วยกระเบื้อง ขนาดเล็กเหมือนถ้วยน้ำชาของจีนซึงวางบนถาด เสร์ฟครั้งแรกเรียกว่า อาโดล บูน่า (Adol Buna) หรือ อาเว (Awel) ให้ผู้มีอายุมากสุด ซึ่งจะเติมน้ำตาลที่ว่างอยรู่ข้างเคียงหรือไม่แล้วแต่พอใจ จากนั้นยกดื่มและสรรเสริญการปรุงกาแฟของหญิงสาว หลังจากนั้นทะยอยเรียงลำดับมา การเสิร์ฟครั้งต่อมาจะเรียกว่า เฮเลเตกะ( Huletegna) โตนา หรือ กาเล่ (Tona or Kale) ครั้งที่สามเรียก บาราคา หรือ บาเรคา (Baraka or Bereka)


                                                              เหยือกกาแฟดินเหนียว

      ขั้นตอนการเสิร์ฟจะสำคัญเนื่องจากจะต้องให้น้ำกาแฟบริสุทธิ์ไหลรินออกมาอย่างต่อเนื่องจนเต็มถ้วยกาแฟ กากกาแฟที่บดละเอียดจะต้องให้คงตกค้างอยู่ในเหยือกดินเช่นเดิมในเยือกซึ่งหญิงสาวผู้เสิร์ฟจะใช้ความชำนาญในการรินกาแฟแก่ผู้มาเยือน

     ขั้นตอนการปรุงกาแฟเอธิโอเปียตามประเพณีวัฒนธรรมตั้งแต่การนำแฟมาล้าง คั่ว บด ต้ม เสิร์ฟให้ท่านดื่ม รสชาติกาแฟเอธิโอเปียอันหอมหวล สำหรับท่านที่มีโอกาสได้พบเห็นขั้นตอนการปรุงกาแฟจากถิ่นแอฟริกา ยากที่จะทำให้ท่านลืมกับความทรงจำ เอธิโอเปีย



No comments:

Post a Comment